โรคอัลบินิซึม (albinism) โรคอัลบินิซึม
หรือโรคผิวเผือก เกิดจากยีนด้อย ที่มีอยู่ในพันธุกรรม ทำให้ไม่สามารถ สร้างเอนไซม์
เมลาโนโซท์ ไทโรซิเนส melamocyte tyrosinase ที่จะเปลี่ยนไทโรซีน
ซึ่งเป็นโปรตีน สำคัญตัวหนึ่ง ไปเป็นเมลานิน melanin ซึ่งทำให้ผู้ที่เป็นโรคนี้
แสดงลักษณะ เผือกคือ มีสีผิวขาว ผมขาว ตาสีขาว ม่านตาสีเทาและโปร่งแสง รูม่านตา
สะท้อนแสงออกมาเป็นสีแดง ร่างกายอ่อนแอติดเชื้อได้ง่ายกว่าคนทั่วไป
การทดสอบทางพันธุกรรมภาวะผิวเผือก เกิดกับคนทุกเชื้อชาติ มีอัตราการเกิดประมาณ 1:17,000 คน เกิดในพื้นที่ที่มีคนดำอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก
เพราะเกิดจากการผสมกันระหว่างยีนด้อยกับยีนด้อย
สาเหตุของการเกิดโรค
เกิดจากความผิดปกติทางพันธุ์กรรมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมที่ผิดปกติ
ซึ่งควบคุมโดยยีนด้อยนั้น แม้จะดูจากภานอกทั้งพ่อและแม่จะมีลักษณะปกติ
แต่ทั้งคู่มียีนด้อย ซึ่งมีลักษณะผิดปกติแฝงอยู่หรือเรียกได้ว่าทั้งพ่อและแม่เป็นพาหะของลักษณะผิดปกตินั้น
ลูกก็มีโอกาสได้รับยีนผิดปกตินั้นทั้งคู่ได้ อ่านต่อ
วันพุธที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2559
โรคท้าวแสนปม
โรคท้าวแสนปม เรียกว่า neurofibromatosis
(NF) เป็นโรคพันธุกรรม
ชนิดหนึ่งที่ก่อให้เกิดความผิด ปกติที่กระดูก ระบบประสาท เนื้อเยื่ออ่อน
และผิวหนัง ความผิดปกติต่าง ๆ จะเป็น มากขึ้นเรื่อย ๆ ในรายที่
รุนแรงจะมีอาการแทรกซ้อนทางระบบประสาท และ อาจเกิดเป็นมะเร็งได้
โรคท้าวแสนปมแบ่งเป็นสองชนิดใหญ่
ๆ ชนิด แรก เรียกว่า neurofibromatosis 1 (NF-1) เป็นชนิด
ที่พบบ่อยที่สุดบางครั้งอาจเรียกว่า peripheral NF ส่วน
ชนิดที่สอง เรียกว่า neurofibromatosis 2 (NF-2) หรือ
central NF
|
โรคท้าวแสนปมชนิดที่
1 เป็นชนิดที่พบบ่อย พบประมาณ 1 ใน
2,500 ถึง 3,500 คน
สามารถ วินิจฉัยว่าเป็นโรคนี้ โดยพบอาการต่อไปนี้อย่างน้อย 2 ใน
7 อาการ
|
โรคท้าวแสนปมชนิดที่
1 เป็นชนิดที่พบบ่อย พบประมาณ 1 ใน
2,500 ถึง 3,500 คน
สามารถวินิจฉัยว่าเป็นโรคนี้ โดยพบอาการต่อไปนี้อย่างน้อย 2 ใน
7 อาการ
ปานสีกาแฟใส่นมอย่างน้อย 6 ตำแหน่ง อ่านต่อ |
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)